กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๘๔)

พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้น การกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น (สำนักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒) 

 

จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สำนักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๕๗; Nutravong, 2002; Kittisunthorn, 2003) พบว่าหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริม การกระจายอำนาจทางการศึกษา ทำให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหา และความไม่ซัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการไช้หลักสูตรได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สถานศึกษาส่วนใหญ่กำหนดสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ดาดหวังไว้มาก ทำให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผล ไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐาน
ทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้งปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะความสามารถและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ

  • คู่มือการใช้หลักสูตร  (ขอขอบคุณ : ข้อมูลจาก สสวท.)
  • กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) : ระดับประถมศึกษา

http://www.scimath.org/e-books/8378/8378.pdf

https://drive.google.com/drive/folders/1hW2fPL0PAYYf97lPWLGifebqOWqQty94

  • กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

http://www.scimath.org/e-books/8380/8380.pdf

https://drive.google.com/drive/folders/12a0Y3CvLirAKeza_ClV_lwIrtdqMtcCR

  • กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

http://www.scimath.org/e-books/8379/8379.pdf

https://drive.google.com/drive/folders/16DPtxbbLztom-EUUG2yPzq6HMUOC4zVH

  • กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) : ระดับการศึกษาภาคบังคับ

http://primaryscience.ipst.ac.th/?p=1349

  • กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
    • รายวิชาพื้นฐาน

http://www.scimath.org/e-books/8415/flippingbook/files/assets/common/downloads/publication.pdf

  • รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา

http://www.scimath.org/e-books/8416/flippingbook/files/assets/common/downloads/CuriculumManual%20Bio.pdf

  • รายวิชาเพิ่มเติม เคมี

http://www.scimath.org/e-books/8417/flippingbook/files/assets/common/downloads/AW%20Chemistry%20M4-M6%20OK.pdf

  • รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์

http://www.scimath.org/e-books/8437/flippingbook/index.html

  • รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

http://www.scimath.org/e-books/8418/flippingbook/files/assets/common/downloads/CuriculumManual%20earth.pdf

  • สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

http://www.scimath.org/e-books/8377/8377.pdf

https://drive.google.com/file/d/1gAEeUgwstgHoPfU25gR25AG7IZUfszPi/view

https://drive.google.com/file/d/1_owPHOj5UvtG-9jJTInP8mYdxvyaJGvw/view

  • สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

http://www.scimath.org/e-books/8376/8376.pdf

http://oho.ipst.ac.th/cs-curriculum-teacher-guide/

  • เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรหลักเพื่อสร้างความเข้าใจ เรื่อง การนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ
  • ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 14 - 16 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช พัทยา จังหวัดชลบุรี
  • ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 20 – 22 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมคุ้มภูคำ จังหวัดเชียงใหม่
  • ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 25 – 28 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
  • บรรยายพิเศษ

-  เตรียมเส้นทางอาชีพ ม.ต้น โดย รองเลขาธิการ กพฐ. (นางสุกัญญา งามบรรจง)

-  Where do we go from here? โดย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สพฐ. (ดร. เบญจลักษณ์  น้ำฟ้า)

  • เอกสารประกอบการบรรยาย (สพฐ.)

- การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา โดย ดร.รัตนา  แสงบัวเผื่อน

- แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดย อ. พรพรรณ โชติพฤกษวัน

  • เอกสารประกอบการบรรยาย (สสวท.)

การนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สู่การปฏิบัติ

- ประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนต้น (สพป.)

- มัธยมศึกษาตอนต้น – มัธยมศึกษาตอนปลาย (สพม.)

  • เอกสารประกอบการประชุม

- การเทียบเคียงตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

- การเทียบเคียงตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

- การเปรียบเทียบมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระภูมิศาสตร์

Go to top